November 11, 2021
การ-เขยน-เรอง-ตาม-จนตนาการ-ป-6

วิกฤตไวรัสโควิด-19 เกิดการระบาดไปทั่วโลก ทำให้ประเทศไทยได้รับผลกระทบเกือบทุกภาคส่วน โดยเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม ธุรกิจเช่ารถ และสถานการณ์ปัจจุบันได้เริ่มเข้ามาสู่เมืองกรุงกันแล้ว วันนี้ทางทีมงาน Autostation ได้นำข้อมูลการพักชำระหนี้เช่าซื้อรถยนต์ของสถาบันการเงินต่างๆ มาให้ได้รับทุกท่านได้รับทราบกัน 1. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ลูกค้าสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ พักชำระหนี้ สูงสุดไม่เกิน 6 เดือน ปรับลดจำนวนเงินผ่อนชำระค่างวด (แล้วแต่กรณี) 2. ธนาคารกสิกรไทย เช่าซื้อรถยนต์ ปรับลดยอดผ่อนชำระรายเดือนสูงสุด 50% ระยะเวลาสูงสุด 12 เดือน และขยายระยะเวลาการผ่อนสูงสุด 6 เดือน โดยรวมสัญญาล่าสุดต้องไม่เกิน 7 ปี 3. ธนาคารไทยพาณิชย์ สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ พักชำระค่างวดสูงสุด 6 เดือน 4. ธนาคารธนชาต สินเชื่อรถยนต์ ธนชาตDRIVE ลูกค้าที่ค้างชำระหนี้ไม่เกิน 60 วัน ขอพักชำระหนี้ได้เพิ่มสูงสุด 60 วัน และขยายเวลาผ่อนชำระได้ไม่เกิน 96 งวด โดยเงื่อนไขเป็นไปตามที่ธนาคารกำหนด และเมื่อครบกำหนดให้กลับมาชำระหนี้ตามปกติ สินเชื่อเล่มแลกเงิน พักชำระหนี้ได้ไม่เกิน 60 วัน ลูกค้าสมัครร่วมโครงการได้ตั้งแต่วันนี้ – 31 ก. ค. 2563 5.

งาน หางาน สมัครงาน เจ้าหน้าที่ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ กรุงศรี ออโต้ 550 ชั้น 30 อาคารกรุงศรี เพลินจิต ทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร - jobbkk.com

  • แบงก์ถก "พักหนี้" ยาวถึงสิ้นปี ต่อชีวิต "รายย่อย-SME" 2 ล้านล้านบาท
  • ปรับโครงสร้างหนี้รถยนต์กรุงศรี
  • ซื้อขายที่ดินติดจํานอง

สมาคมธนาคารถก ธปท. ช่วยต่อลมหายใจลูกหนี้ "เอสเอ็มอี-รายย่อย" หลังวิกฤตโควิด-19 ยืดเยื้อ จ่อขยาย "พักหนี้" ยาวถึงสิ้นปี สรุปปลาย ส. ค. นี้ "ผยง ศรีวณิช" เผยแบงก์อุ้มลูกหนี้โครงการ "พักหนี้-ปรับโครงสร้างหนี้" รวมกว่า 2 ล้านล้านบาท ยอมรับเสี่ยงเป็นหนี้เสียสูง "แบงก์-น็อนแบงก์" ระดมกำลังช่วยลูกหนี้ "กรุงศรี ออโต้" เผยมีลูกหนี้ขอพักชำระหนี้วันละ 1. 5 หมื่นราย ถกพักหนี้ยาวถึงสิ้นปี แหล่งข่าวจากสถาบันการเงิน เปิดเผยกับ "ประชาชาติธุรกิจ" ว่า ตอนนี้สถาบันการเงินอยู่ระหว่างหารือกับธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท. ) เพื่อหาแนวทางการช่วยเหลือลูกหนี้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เพิ่มเติม เนื่องจากมองว่าการให้พักชำระหนี้ 2 เดือน ที่ประกาศไปเมื่อเดือน ก. ที่ผ่านมา อาจไม่เพียงพอกับผลกระทบโรคระบาดที่คาดว่าจะลากยาว ซึ่งทำให้ลูกหนี้ทั้งรายย่อยและเอสเอ็มอีจำนวนมากประสบปัญหาขาดรายได้ โดยเบื้องต้นมีแนวคิดขยายเวลาการพักชำระหนี้ต่อออกไปอีก 4-6 เดือน หรือให้ลูกค้ากลับมาชำระเงินอีกครั้งในต้นปี 2565 "ตอนนี้ไม่ได้ห่วงว่าล็อกดาวน์กี่จังหวัด แต่คิดว่ามาตรการล่าสุดไม่น่าจะพอ ซึ่งแนวทางดังกล่าวเป็นการพูดคุยและข้อเสนอเบื้องต้น จะมีการประชุมหารือเพื่อเคาะมาตรการชัดเจนอีกครั้งน่าจะช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือนนี้" ต่อรอง ธปท.

เอดิสัน VS เทสลา เรื่องจริงในสงครามทฤษฎีกระแสไฟฟ้า The Current War สู่ Tesla

ธนาคารทิสโก้ ลูกหนี้รายย่อย ผ่อนปรนการชำระเงินต้นชั่วคราวไม่เกิน 6 เดือน ลดภาระการผ่อนชำระ ขยายระยะเวลาการชำระหนี้ ลดค่าธรรมเนียม 6. ธนาคารเกียรตินาคิน พักชำระหนี้เงินต้นสูงสุด 6 เดือน การให้ส่วนลดดอกเบี้ย และการขยายระยะเวลาผ่อนชำระหนี้ *การพิจารณาเป็นไปตามเงื่อนไขของธนาคารที่กำหนด 7. โตโยต้า ลีสซิ่ง โครงการช่วยเหลือลูกค้าโตโยต้า ลีสซิ่ง ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตไวรัสโควิด-19 (COVID-19) สำหรับกลุ่มผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกี่ยวกับการท่องเที่ยว / โรงแรม / ขนส่ง และอาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว* *เงื่อนไขการพิจารณาเป็นไปตามที่บริษัทฯ กำหนด นอกจากการพักชำระหนี้สินเชื่อรถยนต์แล้ว ยังมีมาตรการพักชำระหนี้อื่นๆ จากสถาบันการเงินต่างๆ อีกมากมาย เพื่อที่เราทุกคนจะผ่านพ้นวิกฤตไวรัสโควิด-19 ไปด้วยกัน ขอบคุณรูปจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย อ่านข่าวสารยานยนต์ได้ที่ FB: Autostation

05 พันล้านบาท ขณะที่มาตรการล่าสุดพักชำระหนี้ 2 เดือนอยู่ระหว่างเก็บรวบรวมข้อมูล ด้าน บมจ. บัตรกรุงไทยหรือเคทีซี ระบุว่า มีลูกค้าที่ขอเข้ามาตรการพักชำระหนี้ 2 เดือน โดยรวมทุกผลิตภัณฑ์ของเคทีซี ทั้งในส่วนของสินเชื่อบัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล และเคทีซีพี่เบิ้ม ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2564 พบว่ามีจำนวน 4, 130 ราย ทั้งนี้ หากดูลูกค้าที่เข้าโครงการช่วยเหลือนับตั้งแต่การระบาดรอบแรกจนถึงปัจจุบัน คงค้างรวม 21, 564 บัญชี ยอดหนี้คงค้างชำระ 1, 545 ล้านบาท พักหนี้ 1.

ธุรกิจลิสซิ่ง ชี้ช่วง'พักหนี้-ล็อกดาวน์' ยอดยึดรถชะลอ

© Matichon ภาพประกอบข่าว ในยุคที่กระแสไฟฟ้าเป็นศูนย์รวมการคิดค้นและพัฒนาเพื่อสร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ความทะเยอทะยานและความเชื่อมั่นในระบบไฟฟ้าทำให้ โทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) กับ นิโคลา เทสลา (Nikola Tesla) กลายเป็นคู่ปรับคนสำคัญใน " สงครามกระแสไฟฟ้า " หรือ The Current War ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1880-1890 ขณะที่เอดิสันเชื่อมั่นใน ไฟฟ้ากระแสตรง (DC) เทสลาคือผู้เปิดศักราชของ ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ความขัดแย้งดังกล่าวเกิดจากทั้งสองคนที่เคยร่วมงานกันและพอใจความสามารถกันเองมาก่อน อะไรทำให้ทั้งคู่ไม่ลงรอยกัน และเกิดอะไรขึ้นในสงครามกระแสไฟฟ้า? ทั้งหมดสะท้อนวิธีสู่ความสำเร็จของเอดิสัน และความเป็นอัจฉริยะผู้ถูกลืมของเทสลาท่ามกลางเรื่องของผลประโยชน์เป็นอย่างดี เทสลา เคยทำงานใน บริษัท เอดิสัน แมชชีน เวิร์ก (Edison Machine Works) ของเอดิสัน ที่นิวยอร์กเมื่อ ค. ศ.

ปรับโครงสร้างหนี้กรุงศรีออโต้